วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน

ได้รวบรวมการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานไว้ดังนี้....
            โครงงาน  (Project)  หมายถึง  การศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่นักเรียนเป็นผู้ศึกษา ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง  โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ภายใต้คำแนะนำ ปรึกษา และดูแลของครู/อาจารย์ที่ปรึกษา  โดยอาจใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ช่วยในการศึกษา เพื่อให้การศึกษา ค้นคว้า นั้นบรรลุผลตามวัตถุประสงค์  นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า คิดวิเคราะห์ เก็บรวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูล  เรียนรู้แบบบูรณาการ ผ่านกระบวนการวางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินผล นำเสนอผลงาน  (วัฒนา  ก้อนเชื้อรัตน์. 2547 ;  วิชาการกรม.  2544 : 28-31)
            การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ การจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้เด็กเหมือนกับการทำงานในชีวิตจริง เพื่อให้เด็กมีประสบการณ์ตรง  เด็กจะได้เรียนรู้  วิธีการแก้ปัญหารู้จักการทำงานอย่างมีระบบ  รู้จักการวางแผนในการทำงาน  ฝึกการคิดวิเคราะห์ และเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วัตถุประสงค์                                
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียน
1. มีประสบการณ์โดยตรง
2. ได้ทำการทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
3. รู้จักการทำงานอย่างมีระบบ  มีขั้นตอน
4. ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
5. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา
6. ได้รู้จักวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา
7. ฝึกวิเคราะห์  และประเมินตนเอง
โครงงานแบ่งเป็น 4 ประเภท คือ
1. โครงงานประเภทสำรวจ
– ไม่มีการจัดหรือกำหนดตัวแปรอิสระที่ต้องการศึกษาเหมือนโครงงานประเภททดลอง
– ผู้ทำการสำรวจและรวบรวมข้อมูล แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นมาจำแนกเป็นหมวดหมู่และนำเสนอในรูปแบบต่างๆ  เพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
2. โครงงานประเภทการทดลอง
–  เป็นโครงงานที่ออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาผลของตัวแปรหนึ่งที่มีผลต่อตัวแปรหนึ่ง  โดยควบคุมตัวแปรอื่นๆที่อาจมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษา
– ขั้นตอนการดำเนินงานของโครงงานนี้จะประกอบด้วย  การกำหนดปัญหา  ตั้งสมมุติฐาน  การออกแบบการทดลอง  การดำเนินการทดลอง  การรวบรวมข้อมูล  การแปลผล และสรุปผล
3. โครงงานประเภทการพัฒนาหรือประดิษฐ์คิดค้น
เป็นโครงงานที่ประยุกต์ทฤษฎีหรือหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประดิษฐ์เครื่องมือ  เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์เพื่อประโยชน์ใช้สอยต่างๆ
4. โครงงานประเภทการสร้างหรืออธิบายทฤษฏี
– เป็นโครงงานที่เสนอทฤษฎีหลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร  สมการหรือคำอธิบาย  อาจขัดแย้งกับทฤษฎีเดิม  อาจเป็นของใหม่หรือยังไม่มีใครคิดมาก่อน
– ต้องมีความรู้พื้นบานเรื่องนั้นเป็นอย่างดี
– มักเป็นโครงงานคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ เช่น โครงงานเรื่องการอธิบาย     อวกาศแนวใหม่   โครงงานเรื่องทฤษฎีของจำนวนเฉพาะ  เป็นต้น
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
    1. ชื่อโครงงาน
    2. คณะทำงาน
    3. ที่ปรึกษา
    4. แนวคิด / ที่มา / ความสำคัญ
    5. วัตถุประสงค์ / จุดมุ่งหมาย
    6. ขั้นตอนการดำเนินงาน / วิธีการศึกษา
    7. แหล่ง / สถานศึกษา (ถ้ามี)
    8. วัสดุ  อุปกรณ์
    9. งบประมาณ
    10. ระยะเวลาการดำเนินงาน
    11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ขั้นตอนของการทำโครงงาน  มีดังนี้
1) คิดและเลือกปัญหาที่จะศึกษา : นักเรียนจะต้องเป็นผู้กำหนดปัญหา แนวคิดและวิธีการที่จะใช้แก้ปัญหา
2) วางแผนในการทำงาน ประกอบด้วย
     1. การกำหนดปัญหาและขอบเขตของการศึกษา
     2. การกำหนดวัตถุประสงค์ แนวคิด วิธีการที่จะนำมาใช้แก้ปัญหา  สมมติฐาน และนิยามเชิงปฏิบัติการ
     3. การวางแผนรวบรวมข้อมูล  และการค้นคว้าเพิ่มเติม
     4. กำหนดวิธีดำเนินงาน ได้แก่ แนวทางการศึกษา ค้นคว้า วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้  การออกแบบการทดลอง  การควบคุมตัวแปร  การสำรวจและรวบรวมข้อมูล  การประดิษฐ์คิดค้น  การวิเคราะห์ข้อมูล  การกำหนดระยะเวลาในการทำงาน แต่ละขั้นตอน
3) ลงมือทำโครงงาน : นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามแผนที่กำหนดไว้ในข้อ 2  และถ้ามีปัญหาให้ขอคำแนะนำ ปรึกษา ครูหรืออาจารย์ที่ปรึกษา
4) การเขียนรายงาน : นักเรียนจะต้องเสนอผลงานการศึกษา ค้นคว้า เป็นเอกสาร อธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ และทราบถึงปัญหา วิธีการ และผลสรุปที่ได้จากการศึกษา พร้อมอภิปรายผล และให้ข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการที่จะศึกษาค้นคว้าต่อไป
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มี 2 แนวทาง ดังนี้
1. การจัดกิจกรรมตามความสนใจ
เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเลือกศึกษาโครงงานจากสิ่งที่สนใจอยากรู้ที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน สิ่งแวดล้อมในสังคม หรือจากประสบการณ์ต่างๆ ที่ยังต้องการคำตอบ ข้อสรุป ซึ่งอาจจะอยู่นอกเหนือจากสาระการเรียนรู้ในบทเรียนของหลักสูตร มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
      1. ตรวจสอบ วิเคราะห์ พิจารณา รวบรวมความสนใจแก่ผู้เรียน
      2. กำหนดประเด็นปัญหา/หัวข้อเรื่อง
      3. กำหนดวัตถุประสงค์
      4. ตั้งสมมติฐาน
      5. กำหนดวิธีการศึกษาและแหล่งความรู้
      6. กำหนดเค้าโครงของโครงงาน
      7. ตรวจสอบสมมติฐาน
      8. สรุปผลการศึกษาและการนำไปใช้
      9. เขียนรายงานเชิงวิจัยง่ายๆ
      10. จัดแสดงผลงาน
2. การจัดกิจกรรมตามสาระการเรียนรู้
เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยยึดเนื้อหาสาระตามที่หลักสูตรกำหนด ผู้เรียนเลือกทำ
โครงงานตามสาระการเรียนรู้ จากหน่วยเนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียน นำมาเป็นหัวข้อโครงงาน มีขั้นตอนที่
ผู้สอนดำเนินการดังต่อไปนี้
      1. เริ่มจากศึกษาเอกสารหลักสูตร คู่มือครู
      2. วิเคราะห์หลักสูตร
      3. วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา เพื่อแยกเนื้อหา จุดประสงค์ และกิจกรรมให้เด่นชัด
      4. จัดทำกำหนดการสอน
      5. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้
      6. ผลิตสื่อ จัดหาแหล่งการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
      7. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้
          7.1. แจ้งจุดประสงค์ เนื้อหาของหลักสูตรให้ผู้เรียนทราบ
          7.2 .กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนในขอบเขตของเนื้อหาและจุดประสงค์ในหลักสูตร
          7.3. จัดกลุ่มผู้เรียนตามความสนใจ
          7.4. ผู้สอนใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น
                 - ทำไมผู้เรียนจึงสนใจอยากเรียนเรื่องนี้ (แนวคิด/แรงดลใจ)
                 - ผู้เรียนสนใจเกี่ยวกับอะไรบ้าง (กำหนดเนื้อหา)
                 - ผู้เรียนอยากเรียนรู้เรื่องนี้เพื่ออะไร (กำหนดจุด ประสงค์)
                 - ผู้เรียนจะทำอย่างไรจึงจะเรียนรู้ได้ในเรื่องนี้ (กำหนดวิธีศึกษา/กิจกรรม)
                 - ผู้เรียนจะใช้เครื่องมืออะไรบ้างในการศึกษาครั้งนี้ (กำหนดสื่ออุปกรณ์)
                 - ผู้เรียนจะไปศึกษาที่ใดบ้าง (กำหนดแหล่งความรู้ แหล่งข้อมูล)
                 - ผลที่ผู้เรียนคาดว่าจะได้รับคืออะไรบ้าง (สรุปความรู้/สมมติฐาน)
                 - ผู้เรียนจะทำอย่างไรจึงจะรู้ว่าผลงานของผู้เรียนดีหรือไม่ดีอย่างไร จะให้ใครเป็นผู้ประเมิน                         (กำหนดการวัดและประเมินผล)
                 - ผู้เรียนจะเผยแพร่ผลงานให้ผู้อื่นรู้ได้อย่างไร (นำเสนอผลงาน รายงาน)
            7.5  ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตามที่ตกลงกันไว้ (จากคำถามที่ผู้สอนซักถาม) ภายใต้กรอบเวลาในแต่ละครั้ง ถ้ายังไม่สำเร็จให้ศึกษาต่อในคาบต่อไป
            7.6 ผู้เรียนทุกคนต้องสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยการเรียนของผู้เรียนและสามารถนำเสนอความรู้ที่ได้แก่เพื่อนๆ และผู้สอนได้
            7.7 ผู้เรียนเขียนรายงานเชิงวิจัยแบบง่ายๆ และแสดงแผงโครงงาน
       8. ผู้สอนจัดแหล่งความรู้เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
       9. ผู้สอนเขียนบันทึกผลการเรียนรู้
วิธีการทำโครงงาน
1. ประชุมปรึกษาหารือ  เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับหัวข้อของโครงงาน  จากสิ่งต่อไปนี้
    – การสังเกต หรือตามที่สงสัย
    – ความรู้ในวิชาต่าง ๆ
    – จากปัญหาใกล้ตัว  หรือการเล่น
    – คำบอกเล่าของผู้ใหญ่  หรือผู้รู้
2. เขียนหลักการ  เหตุผล  ที่มาของโครงงาน
3. ตั้งวัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน
4. กำหนดวิธีการศึกษา เช่น  การสำรวจ  การทดลอง  เป็นต้น
5. นำผลการศึกษามาอภิปรายกลุ่ม
6. สรุปผลการศึกษา   โดยการอภิปรายกลุ่ม
7. ปรับปรุงชื่อโครงงาน  ให้ครอบคลุม  น่าสนใจ
การประเมินผลการทำโครงงาน
ครูผู้สอนจะเป็นผู้ประเมินการทำโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม  โดยใช้แบบประเมินแผนผังโครงงานพิจารณาตามรายละเอียดดังนี้
1. ชื่อเรื่องแสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. ชื่อเรื่องมีความสัมพันธ์กับเนื้อหาคำถามมีการกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความคิด
3. สมมติฐานมีการแสดงถึงพื้นฐานความรู้เดิม
4. วิธีการ  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา  เหมาะสมสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา
5. แหล่งศึกษาสามารถค้นคว้าคำตอบได้
6. วิธีการนำเสนอชัดเจน เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลา

อุษา คงทอง(acad.vru.ac.th/pdf-handbook/Hand_Teacher.pdf ) ได้รวบรวมการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานไว้ดังนั้...
ความหมายของโครงงาน
           โครงงานเปนการจัดการเรียนรูรูปแบบหนึ่ง ที่ทําใหผูเรียนไดเรียนรูวยตนเอง จากการลงมือปฏิบัติจริง ในลักษณะของการศึกษา สํารวจ คนควา ทดลอง ประดิษฐคิดคน โดยมีผูสอนเปนผูคอย           กระตุน แนะนํา และใหคําปรึกษาอยางใกลชิด โครงงาน เปนการบูรณา การระหวางหองเรียนกับโลกภายนอก ซึ่งเปนชีวิตจริงของผูเรียน เพื่อนําไปสูความรูใหมๆ ดวยการสรางความหมาย การแกปญหาและการคนพบดวยตนเอง  ทําใหเกิดการปรับเปลี่ยน ความรูใหเปนเครื่องมือในการเรียนรูสิ่งใหม
ประเภทของโครงงาน
           โครงงานเปนสวนที่ใหผูเรียนลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาความรู ทักษะ และสรางผลผลิต ที่มีคุณภาพ จําแนกเป 2 ประเภท คือ
        1. โครงงานตามสาระการเรียนรู  เปนโครงงานที่บูรณาการความรู ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม ในกลุมสาระการเรียนรู เปนพื้นฐานในการกําหนดโครงงานและ การปฏิบัติ
        2. โครงงานตามความสนใจ เปนโครงงานที่ผูเรียนกําหนดขั้นตอน ความถนัด ความสนใจ และความตองการ โดยนําเอาความรู ทักษะ คุณธรรมจริยธรรมและคานิยม จากสาระการเรียนรูวิชาตางๆ มาบูรณาการกําหนดเปนโครงงานและการปฏิบัติ
ดังนั้น การจัดการเรียนรูแบบโครงงานจึงเปนการจัดใหสอดคลองกับสาระการเรียนรู เพื่อนําไปสูการพัฒนาผูเรียน ทั้งดานจิตใจ รางกาย สังคม และสติปญญา 
นอกจากนี้ อาจจําแนกประเภทของโครงงานตามลักษณะการดําเนินการออกเป 4 ประเภท ดังนี้
        1. โครงงานที่เปนการสํารวจ รวบรวมขอมูล
เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจ และรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แลวนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจนั้นมาจําแนกเปนหมวดหมู และ นําเสนอในรูปแบบตางๆ อยางมีระบบ เพื่อใหเห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธของเรื่องดังกลาว ไดชัดเจนยิ่งขึ้น การปฏิบัติตามโครงงานนี้ ผูเรียนจะตองไปศึกษา รวบรวมขอมูลดวยวิธีการ ตางๆ เชน สอบถาม สัมภาษณ สํารวจ โดยใชเครื่องมือ เชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบบันทึก ฯลฯ ในการรวบรวมขอมูลที่ตองการศึกษา
        2. โครงงานที่เปนการคนควา ทดลอง
เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงค เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะ โดยการออกแบบโครงงานในรูปของการทดลอง เพื่อศึกษาวาตัวแปรหนึ่งจะมีผลตอ ตัวแปรที่ตองการศึกษาอยางไรบาง ดวยการควบคุมตัวแปรอื่นๆ ซึ่งอาจมีผลตอตัวแปรที่ ตองการศึกษาไว  ขั้นตอนการดําเนินงาน ประกอบดวย การกําหนดปญหา การตั้งวัตถุประสงค หรือสมมติฐาน การออกแบบทดลอง การรวบรวมขอมูล การดําเนินการทดลอง การแปลผล และ สรุปผลการทดลอง
       3. โครงงานที่เปนการศึกษาความรู ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม
เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงคเพื่อเสนอความรู ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหมๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่ยังไมมีใครคิดมากอน หรือขัดแยงหรือ ขยายจากของเดิมที่มีอยู ซึ่งความรู ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดที่เสนอตองผานการพิสูจน อยางมีหลักการหรือวิธีการที่นาเชื่อถือตามกติกา/อตกลงที่กําหนดขึ้นมาเอง หรืออาจใชกติกา หรือขอตกลงเดิมมาอธิบายขอความรู ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหม ก็ได โครงงานประเภทนี้ ผูทําโครงงานตองเปนผูที่มีความรูพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ เปนอยางดี หรือตองมีการศึกษาคนควา ขอมูลมาประกอบอยางลึกซึ้ง จึงจะทําใหสามารถกําหนดความรู ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหมๆ ขึ้นได
       4. โครงงานที่เปนการประดิษฐคิดคน
เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงค คือ การนําเอาความรู ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดมาประยุกตใช โดยการประดิษฐเปนเครื่องมือเครื่องใชตางๆ เพื่อประโยชน ในการเรียน การทํางาน หรือการใชสอยอื่นๆ การประดิษฐคิดคนตามโครงงานนี้ อาจเปนการประดิษฐขึ้นมาใหมโดยที่ยังไมมี ใครทําหรืออาจเปนการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแลว ใหมีประสิทธิภาพ สูงขึ้นกวาที่เปนอยู รวมทั้งการสรางแบบจําลองตางๆ เพื่อประกอบการอธิบายแนวคิดในเรื่อง ตางๆ โครงงานที่เปนการประดิษฐคิดคนนี้ จะครอบคลุมเรื่องตางๆ ทั้งวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษา สังคม อาชีพ สิ่งแวดลอม ฯลฯ
ขั้นตอนการทําโครงงาน
ในการดําเนินงานโครงงาน มีขั้นตอนที่สําคัญประกอบดวย
ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวขอเรื่อง
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้ เปนการคิดหาหัวขอเรื่องที่จะทําโครงงานโดยผูเรียน ตองตั้งตนดวยคําถามที่ว
        - จะศึกษาอะไร
        -  ทําไมตองศึกษาเรื่องดังกลาว
สิ่งที่จะนํามากําหนดเปนหัวขอเรื่องโครงงาน จะไดมาจาก ปญหา คําถามหรือ ความอยากรูอยากเห็นในเรื่องตางๆ ของผูเรียนเอง ซึ่งเปนผลจากการที่ผูเรียนไดอานจาก หนังสือเอกสาร บทความ ฟงการบรรยาย การสนทนา หรือจากการที่ไดไปดูงาน ทัศนศึกษา ชมนิทรรศการ หรือสังเกตจากปรากฏการณตางๆ รอบขาง
ขั้นตอนที่ 2  การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ
การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของนี้ รวมไปถึงการขอคําปรึกษา หรือขอมูลรายละเอียด อื่นๆ จากผูทรงคุณวุฒิ ผูเกี่ยวของทุกระดับ รวมทั้งการสํารวจวัสดุอุปกรณตางๆ ดวย
ขั้นตอนที่ 3  การเขียนเคาโครงของโครงงาน
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้ เปนการสรางแผนที่ความคิด เปนการนําเอาภาพ ของงาน และภาพของความสําเร็จของโครงงานที่วิเคราะหไวมาจัดทํารายละเอียด เพื่อแสดง แนวคิด แผน และขั้นตอนการทําโครงงาน โดยทั่วไปเคาโครงของโครงงานจะประกอบดวยหัวขอตางๆ เชนเดียวกับโครงการ ซึ่งไดแก

หัวข/รายการ
รายละเอียดที่ตองระบุ
1. ชื่อโครงงาน
ทําอะไร กับใคร เพื่ออะไร
2. ชื่อผูทําโครงงาน
ผูรับผิดชอบโครงงาน อาจเปนรายบุคคล หรือรายกลุมก็ได
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
ผูสอน-อาจารยผูทรงคุณวฒุ  ิที่มีในทองถนิ่  ผูทําหนาที่
เปนที่ปรึกษา ควบคุมการทาโครงงานของผูเรียน
4. ระยะเวลาดําเนินงาน
ระยะเวลาการดําเนินงานโครงงาน ตั้งแตเริ่มตนจนเสร็จสิ้น
5. หลักการและเหตุผล
สภาพปจจุบันที่เปนความตองการ และความคาดหวังที่จะ
เกิดผล
6. จุดหมาย/วตถุประสงค
สิ่งทตี  องการใหเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงปริมาณและ
เชิงคุณภาพ
7. สมมติฐานของการศึกษา
อตกลง/อกําหนด/เงื่อนไข เพื่อเปนแนวทางในการพสจน
(ในกรณีที่เปนโครงงาน
ใหเปนไปตามที่กําหนด
การทดลอง)
8. ขั้นตอนการดําเนินงาน
กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครองมือ วัสดุอุปกรณ
สถานที่
9. ปฏิบัติโครงงาน
วัน เวลา และกิจกรรมดําเนินการตางๆ ตามที่ระบุไวในข 8
ตั้งแตเริ่มตนจนแลวเสร็จ
10. ผลที่คาดวาจะไดรับ
สภาพของผลที่ตองการใหเกิด ทั้งที่เปนผลผลติ        กระบวนการ
และผลกระทบ
11. เอกสารอางอิง/
ชื่อเอกสาร อมูลที่ไดจากแหลงตางๆ ทนามาใช
บรรณานุกรม
ในการดําเนินงาน

ขั้นตอนที่ 4  การปฏิบัติโครงงาน
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้ เปนการดําเนินงาน หลังจากที่โครงงานไดรับความ เห็นชอบจากผูสอน-อาจารยที่ปรึกษา และไดรับการอนุมัติจากสถานศึกษาแลว ผูเรียนตองลงมือ ปฏิบัติงานตามแผนงานที่กําหนดไวในเคาโครงของโครงงาน และระหวางการปฏิบัติงานผูเรียน ตองปฏิบัติงานดวยความรอบคอบ คํานึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทํางาน ตลอดจนคํานึงถึงสภาพแวดลอมดวย ในระหวางการปฏิบัติงานตามโครงงาน ตองมีการจดบันทึกขอมูลตางๆ ไวอยาง ละเอียดวา ทําอะไร ไดผลอยางไร ปญหา อุปสรรค และแนวทางการแกไขอยางไร การบันทึก
อมูลดังกลาวนี้ ตองจัดทําอยางเปนระบบระเบียบ เพื่อจะไดใชเปนขอมูล สําหรับการปรับปรุง การดําเนินงานในโอกาสตอไปดวย
ขั้นตอนที่ 5  การเขียนรายงาน
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้ เปนการสรุปรายงานผลการดําเนินงานโครงงาน เพื่อให ผูอื่นไดทราบถึงแนวคิด วิธีดําเนินงาน ผลที่ไดรับ ตลอดจนขอสรุป ขอเสนอแนะตางๆ เกี่ยวกับ โครงงาน
การเขียนรายงานควรใชภาษาที่เขาใจงาย กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมประเด็น สําคัญๆ ของโครงงานที่ปฏิบัติไปแลว โดยอาจเขียนในรูปของสรุป รายงานผล ซึ่งอาจ ประกอบดวยหัวขอตางๆ ดังนี้ บทคัดยอ บทนํา เอกสารที่เกี่ยวของ วิธีการดําเนินงาน ผลการศึกษา สรุปและอภิปรายผล ขอเสนอแนะ และตารางที่เกี่ยวของ
ขั้นตอนที่ 6  การแสดงผลงาน
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนสุดทายของการทําโครงงานเปนการนําผล การดําเนินงานโครงงานทั้งหมดมาเสนอใหผูอื่นไดทราบ ซึ่งผลผลิตที่ไดจากการดําเนินโครงงาน ประเภทตางๆ มีลักษณะเปนเอกสาร รายงาน ชิ้นงาน แบบจําลอง ฯลฯ ตามประเภทของ โครงงานที่ปฏิบัติ
การแสดงผลงาน ซึ่งเปนการนําเอาผลการดําเนินงานมาเสนอนี้ สามารถจัดได หลายรูปแบบ เชน การจัดนิทรรศการ หรือทําเปนสื่อสิ่งพิมพ การจัดทําเปนสื่อมัลติมีเดีย และ อาจนําเสนอในรูปแบบของการแสดงผลงาน การนําเสนอดวยวาจา รายงาน บรรยาย ฯลฯ
การประเมินโครงงาน
การประเมินโครงงานมีกรอบแนวทางการประเมิน ดังนี้
1. ประเมินอะไร
     1.1 การแสดงออกถึงผลของความรู ความคิด ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม
     1.2 กระบวนการเรียนรู
     1.3 กระบวนการทํางาน
     1.4 ผลผลิต/ผลงาน/ชิ้นงาน
2. ประเมินเมื่อใด
     2.1 อยางตอเนื่องตั้งแตเริ่มตนจนเสร็จสิ้นโครงงาน
     2.2 ตามสภาพจริง
     2.3 เปนธรรมชาติ
3. ประเมินจากอะไร
     3.1 ผลงาน (เอกสาร ชิ้นงาน ฯลฯ)
     3.2 การทดสอบ
     3.3 แบบบันทึกตางๆ (การสังเกต ความรูสึก สัมภาษณ ฯลฯ)
     3.4 แฟมสะสมผลงาน
     3.5 หลักฐานหรือรองรอยอื่น
4. ประเมินโดยใคร
     4.1 ตัวผูเรียน
     4.2 เพื่อน
     4.3 ผูสอน
     4.4 ผูปกครอง
     4.5 ผูเกี่ยวของอื่นๆ
5. ประเมินโดยวิธีใด
     5.1 สังเกต
     5.2 สัมภาษณ
     5.3 ตรวจรายงาน
     5.4 ตรวจผลงาน
     5.5 ทดสอบ
     5.6 นําเสนองาน
     5.7 นิทรรศการ
จากกรอบแนวทางการประเมินโครงงานที่กลาวมาแลว การประเมินผลโครงงานของ ผูเรียน ไมวาจะเปนโครงงานที่เปนการบูรณาการภายในกลุมวิชา หรือบูรณาการขามกลุมวิชา สามารถนํามาใชเปนการประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียนและประเมินผลเพื่อตัดสินการเรียนได
โครงงานเปนการเรียนรูที่ผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง  เปนการเรียนรูที่สรางและพัฒนา ผูเรียนใหเปนคนโดยสมบูรณและมีความสมดุลทั้งดานจิตใจ รางกาย ปญญา และสังคม เปนการจัดการเรียนรูที่ฝกกระบวนการคิด การทํางานอยางเปนระบบ ระเบียบ

http://edt.kmutt.ac.th/bangkok/download/training_3/material.pdf ได้รวบรวมการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานไว้ดังนี้...
        การสอนแบบโครงงานเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบหนึ่งที่สอดคล้องกับแนวทางการจัดการศึกษา ตามมาตรา 22 และ มาตรา 23 และใช้พัฒนาวิธีการเรียนรู้ทางปัญญาIntellectual strategy) เพื่อเอื้อหนุนผู้เรียนให้เข้าถึงตัวความรู้ (Body of Knowledge) และความชำนาญทางด้านทักษะในสิ่งที่เรียน (Body of Process)เพราะเป็นการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีกระบวนการทำงานและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำ และกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มศักยภาพ
      1. ความหมายของโครงงาน (Project)
          โครงงาน คือ งานที่มอบหมายให้นกเรียนหรือกลุ่มนักเรียนทำตามรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรมี
ลักษณะงานเหมือนที่เกิดขึ้นในชีวตจริงและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คำปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนการดาเนินการ
การออกแบบลงมือปฏิบัติรวมทั้งร่วมกำหนดแนวทางในการวัดผลและประเมินผล
      2. ความหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
          การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ การจัดการสอนที่จดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการทางานในชีวิตจริงอย่างมีระบบ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้ทำการทดลอง ได้พิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง รู้จักการวางแผน การทำงาน ฝึกการเป็นผู้นำ ผู้ตาม ตลอดจนได้พัฒนากระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดขั้นสูง(Higher Order Thinking) และการประเมินตนเอง
      3.ปรัชญาการศึกษาของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน          การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานได้อาศัยพื้นฐานแนวคิดที่วามนุษย์จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นจากการกระทำและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การสอนในลักษณะดังกล่าวยังตั้งอยู่บนข้อสนับสนุนที่ว่าความรู้ใหม่ได้มาจากสิ่งที่สัมพันธ์กับความรู้ที่มีมาก่อน การสร้างความคิดริเริ่มใหม่และประสบการณ์เดิมที่ไม่เป็นทางการและยังสอดคล้องกับแนวคิดที่วาการเรียนรู้แบบโครงงานจะมีพลังมากยิ่งขึ้นถ้าได้รับการส่งเสริม จากสมาชิกในกลุ่มมากกว่าให้นักเรียนคนใดคนหนึ่งคิดคนเดียว การเรียนรู้แบบโครงงานถูกสร้างขึ้นจาก ความต้องการของผู้เรียนที่ต้องการขยายแหล่งเรียนรู้ของตนให้กว้างขวางขึ้น จากข้อมูลที่มีอยู่ในตำราเล่มหนึ่งไปสู่การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันกว้างขวางยิงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงจากอินเตอร์เน็ต ซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมการทำงานร่วมกัน และนำความรู้ที่แต่ละคนมีอยู่มารวมกัน แนวคิดดังกล่าวพอสรุปได้ดังนี้
     1. เพื่อให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
     2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพด้านการคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา และการคิดขั้นสูง
     3. เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนและทำงานร่วมกัน ได้ฝึกภาวะผู้นำและผู้ตาม
     4. เพื่อจัดประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้นาไปใช้ในการดำรงชีวิต
     5. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทำโครงงาน
4.บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน
     4.1 อาจารย์ ผู้สอนวิชาโครงงาน
            (1) ให้คำปรึกษา แนะนำ กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดหัวข้อโครงงาน และวิธีการเขียนโครงงาน
            (2) จัดงบประมาณ อุปกรณ์สนับสนุนแต่ละโครงงาน
            (3) ติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของผู้เรียนแต่ละสัปดาห์
            (4) เป็นกรรมการตรวจสอบโครงงาน
            (5) รวบรวมผลการประเมินเพื่อตัดสินความสำเร็จในวิชาโครงงานของนักเรียน
            (6) ประชาสัมพันธ์หรือจัดนิทรรศการเผยแพร่ ผลงานโครงงานไปสู่ สาธารณชน และสถาน     ประกอบการ
    4.2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
           (1) ให้ความรู้ดานทฤษฎี หลักการ กระบวนการ วิธีการคิด และยุทธศาสตร์การคิด
           (2) ให้คาแนะนำ ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ และวิธีการดำเนินงานที่ถูกต้อง
           (3) ให้ความรู้ ทักษะ และเทคนิคในการทำโครงงาน
           (4) เป็นที่ปรึกษาโครงงาน
           (5) เป็นกรรมการสอนโครงงานทั้งหมด ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
           (6) ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้อง           
           (7) ติดตามผลและประเมินผลวิชาโครงงาน
5. ประเภทของโครงงาน แบ่งตามลักษณะของกิจกรรมได้ 4 ประเภท คือ
    5.1 โครงงานประเภทสำรวจ(Survey Research Project)
           โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนเพียงแต่ต้องการสำรวจและรวบรวมข้อมูลแล้วนาข้อมูลเหล่านั้น
มาจำแนกเป็นหมวดหมู่ และนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่
ต้องการศึกษาได้ชัดเจนยิงขึ้น
   5.2 โครงงานประเภทการทดลอง(Experimental Research Project)
           โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีการออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาผลของ ตัวแปร
หนึ่งที่มีผลต่อตัวแปรอีกตัวหนึ่งที่ต้องการศึกษา โดยควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการ
ศึกษาไว้ ขั้นตอนการดำเนินงานของโครงงานประเภทนี้จะประกอบด้วยการกำหนดปัญหา การกำหนด
จุดประสงค์ การตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง การดาเนินการทดลอง การรวบรวมข้อมูล การ
ตีความหมายข้อมูลและการสรุ ป ตัวอย่างโครงงานประเภทนี้
    5.3 โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์(Development Research Project)
           โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเกี่ยวกับการประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือด้านอื่น ๆ มาประดิษฐ์ของเล่น เครื่องมือ เครื่องใช้หรืออุปกรณ์ เพื่อประโยชน์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้
อาจจะเป็นด้านสังคม หรือด้านวิทยาศาสตร์ หรือการสร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายแนวคิดต่างๆ ด้วย
5.4 โครงงานประเภททฤษฎี(Theoretical Research Project)
        โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานนำเสนอทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของสูตรสมการ หรือคำอธิบายก็ได้ โดยผู้เสนอได้ตั้งกติกาหรือข้อตกลงขึ้นมาเอง แล้วนำเสนอทฤษฎี หลักการหรือแนวคิด หรือจินตนาการของตนเองตามกติกาหรือข้อตกลงนั้น หรืออาจจะใช้กติกาหรือข้อตกลงเดิมมาอธิบายก็ได้ผลการอธิบายอาจจะใหม่ยังไม่มีใครคิดมาก่อน หรืออาจจะขัดแย้งกับทฤษฎีเดิม หรืออาจจะเป็นการขยายทฤษฎีหรือแนวคิดเดิมก็ได้ ซึ่งผู้ที่ทำโครงงานประเภทนี้ต้องมีพื้นฐานความรู้ในเรื่องนั้นๆ อย่างดี โครงงานประเภทนี้ ได้แก่ โครงงานทฤษฎีของเซต โครงงานทฤษฎีดาวเคราะห์น้อย โครงงานทฤษฎีการเกิดโลก โครงงานทฤษฎีการเกิดคลื่นความร้อนในมหาสมุทร เป็นต้น
6. ประเภทโครงงานแบ่งตามระดับการให้ คำปรึกษาของครู หรือระดับความคิดเห็นของนักเรียนได้ 3
   ประเภท คือ
      7.1 โครงงานประเภท Guided project
      7.2 โครงงานประเภท Less – guided project
      7.3 โครงงานประเภท Unguided project
7. ขั้นตอนการทำโครงงาน
    การทำโครงงานเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องและมีการดำเนินงานหลายขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นสุดท้าย อาจสรุปลำดับได้ดังนี้
       7.1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง
      ผู้เรียนจะต้องคิดและเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทำไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้ว ควรเข้าใจและรู้เรื่องว่า โครงงานนี้ทำอะไร การกำหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้น มีแหล่งที่จะช่วยกระตุนให้เกิดความคิดและสนใจ จากหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคลต่างๆ หรือจากการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ควรคำนึงถึงในเรื่องต่อไปนี้
ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
-          วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้
-          งบประมาณ
-          ระยะเวลา
-          ความปลอดภัย
-          แหล่งความรู้
         7.2 การวางแผน
การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอต่อผู้สอน หรือครู ที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไปการเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไปเขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงานและขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
               (1) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจนสื่อความหมายได้ตรง
               (2) ชื่อผู้ทำโครงงาน/ชั้น/ปี การศึกษา
               (3) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
               (4) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานเรื่องนี้ มีความสำคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บางแล้ว ถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้อย่างไร หรือเป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล
               (5) จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทำได้ชดเจนขึ้น
               (6) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคำตอบ หรือคำอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผล มีทฤษฎี หรื อหลักการรองรับ และที่สำคัญคือเป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
               (7) วิธีดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงาน จะต้องอธิบายว่าจะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง รวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้มีอะไรบ้าง
               (8) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
               (9) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
               (10) เอกสารอ้างอิง
        7.3 การดำเนินงาน
          เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็น ขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ได้ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทำตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คำนึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทำงานตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทำอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไรพยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน
        7.4 การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดำเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสำคัญ ๆ ทั้งหมดของโครงงาน
        7.5 การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงาน เป็นวิธีการที่จะทำให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การนำเสนอผลงานอาจทำได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียนเช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จำลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจจะมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคำพูด หรือการายงานปากเปล่า การบรรยาย การใช้ CAI (Computer Assisted Instruction) การใช้ Multimedia Computer/ Homepage แต่สิ่งที่สำคัญคือ ผลงานที่จะแสดงต้องดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา
8. การประเมินผลโครงงาน
       การประเมินผลเป็นหัวใจของการเรียนการสอน ที่สะท้อนสภาพความสำเร็จของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลว่ากิจกรรมที่ทำไปนั้นบรรลุตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้
หรือไม่ อย่างไร ปัญหาและอุปสรรคที่พบคืออะไรบ้าง ได้ใช้วิธีการแก้ไขอย่างไร ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการทำโครงงานนี้
       8.1 ผู้ประเมินโครงงาน  อาจดำเนินการด้วยบุคคล ต่อไปนี้
             (1) ผู้เรียนประเมินตนเอง จะแสดงออกให้เห็นว่า ผู้เรียนเจ้าของโครงงาน ซึ่งอาจเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มทำงาน มีความพึงพอใจต่อขั้นตอนของกิจกรรมแต่ละขั้นตอนที่ได้กำหนด หรือร่วมกันกำหนดขึ้นเองเพียงใด มีหัวข้อกิจกรรมใดที่ยังขาดตกบกพร่อง จะต้องเพิ่มเติมในส่วนใดบ้าง ความละเอียดรัดกุม ในแต่ละขั้นเป็นอย่างไร
             (2) ผู้ประเมินซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้น อาจให้ขอคิดเห็นสะท้อนภาพเพิ่มเติม เช่น ในระดับชั้นประถมศึกษา เพื่อนอาจให้ความเห็นไปในเรื่องของการเรียน การใช้ตัวสะกด การันต์ วรรคตอน ซึ่งเน้นไปในด้านภาษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา การประเมินโครงงาน อาจเริ่มขยายขอบเขตจากด้านการใช้ภาษา ออกไปถึงการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งชื่อโครงงานกับจุดประสงค์ของโครงงาน และตามความเข้าใจของผู้ประเมิน เสนอแนะวิธีการศึกษาของผู้ประเมิน เพื่อการพิจารณาการจัดรูปเล่มเพื่อการ
นำเสนอโครงงาน ฯลฯ
             (3) ผู้ประเมินซึ่งเป็นผู้สอน หรือครูที่ปรึกษา อาจให้คำแนะนาเพิ่มเติมได้ในเรื่องวิธีการอื่นที่ใช้ในการศึกษาหาคำตอบ ความสัมพันธ์ของวิชาตามหัวเรื่องที่ศึกษากับวิชาอื่น ข้อค้นพบที่ผู้เรียนได้จากโครงงาน การนำคำตอบของการศึกษาที่ได้ไปใช้ประโยชน์ การนำข้อค้นพบที่ต่างไปจากเป้าหมาย
ของการศึกษาไปใช้ประโยชน์หรือขยายผลการศึกษาเป็นโครงงานใหม่ ฯลฯ
              (4) ผู้ประเมินที่เป็นพ่อ แม่ ผู้ปกครอง จะได้รับทราบถึงความสามารถ ความถนัดทางการเรียนของลูกหรือเด็กในความปกครอง ความรู้สึก ความต้องการของเด็กผู้ทำโครงงาน ทำให้สามารถปรับตัวปรับใจเพื่อการสนับสนุนทั้งด้านการเงิน กำลังใจ ให้โอกาส ให้เวลาร่วมกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก ชี้แนะอุปสรรค ปัญหาเบื้องต้นที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมขั้นต่างๆ ของโครงงาน ข้อเสนอแนะสาหรับการทำโครงงานครั้งต่อไป
        8.2 แนวทางการประเมินผล
     การประเมินผลโครงงานควรใช้การประเมินผลตามสภาพที่แท้จริง( Authentic Assessment) ซึ่งมีลักษณะดังนี้
               (1) ทำไปพร้อมๆ กับการเรียนรู้ของผู้เรียน
               (2) ยึดพฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกเป็นสำคัญ
               (3) เน้นการพัฒนาตนและการประเมินตนเอง
               (4) ให้ความสำคัญในการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน
               (5) มีการเก็บข้อมูลระหว่างปฏิบัติได้ทุกบริบท(Context) ทั้งที่บ้าน โรงเรียนและชุมชน
               (6) อยู่บนพื้นฐานของเหตุการณ์ในชีวิตจริง เอื้อต่อการเชื่อมโยงการเรียนรู้สู่ชีวตจริง
               (7) เน้นคุณภาพของผลงาน ซึ่งเป็นผลจากการบูรณาการความรู้สู่ความสามารถของผู้เรียน
               (8) เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง เช่น ใช้ขอมูลในการสังเคราะห์ อธิบาย สรุปเป็น                       กฎทั่วไป ตั้งสมมติฐาน สรุปและแปลผล เป็นต้น
               (9) วัดปฏิสัมพันธ์เชิงบวก มีการชื่นชม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสุขสนุกสนาน ไม่เครียด
               (10) สนับสนุนการมีส่วนร่วม และรับผิดชอบร่วมกัน
        8.3 วิธีการประเมินผล
                1. การสังเกต เป็นวิธีประเมินพฤติกรรมที่สามารถทาได้ทุกเวลาและสถานการณ์ ทั้งแบบมีและไม่มีเครื่องมือในการสังเกต
                 2. การสัมภาษณ์ การสอบถามอาจมีลักษณะเป็นทางการ หรือสัมภาษณ์ สอบถาม ขณะปฏิบัติโครงงานก็ได้
                  3. วัดความรู้ ความสามารถ (Authentic Test) ควรเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิด เพื่อดูความเชื่อมโยงระหว่างความรู้ความเข้าใจเดิม กับสิ่งที่ได้เพิ่มเติมจากประสบการณ์ในการปฏิบัติโครงงาน
ลักษณะสำคัญของแบบทดสอบ
                          (1) ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัด
                          (2) เป็นคำถามที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน
                          (3) เชื่อมโยง บูรณาการความรู้ ความสามารถ ได้หลายด้านและใช้ความคิดที่ลึกซึ้งขึ้น                                      ตามวัย
                          (4) มีเกณฑ์การให้คะแนนตามความสมบูรณ์ของพฤติกรรม
                          (5) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและเขียนคาตอบเอง
                  4. การรายงาน เป็นการเขียนรายงาน หรือบอกขั้น หรือประสบการณ์ในการทำโครงงาน เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองจากการที่ได้พูด หรือเขียนบรรยายสะท้อนความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิดตามแนวทางการเรียนรู้ที่ผ่านประสบการณ์ขณะปฏิบัติกิจกรรมตามโครงงาน
                  5. แฟ้มผลงาน (Portfolio) เป็นการเก็บรวบรวมผลงานที่มีความโดดเด่น ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งที่เลือกรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อแสดงถึงความรู้ ความเข้าใจ ความสนใจ ความถนัด ทักษะ ความสามารถ อันแสดงออกถึงพัฒนาการความก้าวหน้า ความสำเร็จในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือในหลายๆเรื่อง หรือจะเป็นการเก็บผลการประเมินการปฏิบัติโครงงานในวิธีที่ 1 – 4 ด้วยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการติดตามพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่อง
9. ลักษณะของแฟ้มผลงานดีเด่นสำหรับโครงงาน
แฟ้มโครงงานควรมีลักษณะเป็นบทความที่แสดงออกถึงการมีขั้นตอนในการทำงานโครงงาน ความพยายามในการแก้ปัญหา หรือการศึกษาส่วนบุคคล ภายในแฟ้มโครงงานอาจประกอบด้วย เป้าหมาย
วัตถุประสงค์ ยุทธวิธีในการปฏิบัติโครงงาน ภาพถ่ายของกระบวนการทางานขั้นตอนต่างๆ การแก้ปัญหา
ในการดำเนินงาน การผลิตตามโครงงาน บันทึกผลการทางาน บันทึกความคิดเห็น ความรู้สึกส่วนตัวหรือ
ของกลุ่ม ต่อโครงงานและบันทึกผลการประเมินผลโครงงาน
10. ประโยชน์ของโครงงาน
      1. กิจกรรมโครงงานเหมาะกับการศึกษาในยุคข้อมูลข่าวสาร
      2. เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้เต็มที่
      3. เกิดความรู้จริง ซึ่งได้จากการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการทดลอง ปฏิบัติค้นคว้า
      4. สามารถใช้ความรู้ได้หลายด้าน (หลายมิติ)
      5. เกิดปัญญาเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ เข้าด้วยกัน
      6. ฝึกให้ผู้เรียนเป็นคนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น
      7. ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และเกิดความภูมิใจที่ทางานสำเร็จ
      8. ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานจากการเรียนรู้
      9. ช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นนักค้นคว้า (นักวิทยาศาสตร์ )

สรุปการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
1. ความหมายของโครงงาน (Project)
    โครงงาน คือ งานที่มอบหมายให้นกเรียนหรือกลุ่มนักเรียนทำตามรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรมีลักษณะงานเหมือนที่เกิดขึ้นในชีวตจริงและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คำปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนการดาเนินการการออกแบบลงมือปฏิบัติรวมทั้งร่วมกำหนดแนวทางในการวัดผลและประเมินผล
2. ความหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
     การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ การจัดการสอนที่จดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการทางานในชีวิตจริงอย่างมีระบบ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้ทำการทดลอง ได้พิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง รู้จักการวางแผน การทำงาน ฝึกการเป็นผู้นำ ผู้ตาม ตลอดจนได้พัฒนากระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดขั้นสูง(Higher Order Thinking) และการประเมินตนเอง
3.ปรัชญาการศึกษาของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานได้อาศัยพื้นฐานแนวคิดที่วามนุษย์จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นจากการกระทำและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การสอนในลักษณะดังกล่าวยังตั้งอยู่บนข้อสนับสนุนที่ว่าความรู้ใหม่ได้มาจากสิ่งที่สัมพันธ์กับความรู้ที่มีมาก่อน การสร้างความคิดริเริ่มใหม่และประสบการณ์เดิมที่ไม่เป็นทางการและยังสอดคล้องกับแนวคิดที่วาการเรียนรู้แบบโครงงานจะมีพลังมากยิ่งขึ้นถ้าได้รับการส่งเสริม จากสมาชิกในกลุ่มมากกว่าให้นักเรียนคนใดคนหนึ่งคิดคนเดียว การเรียนรู้แบบโครงงานถูกสร้างขึ้นจาก ความต้องการของผู้เรียนที่ต้องการขยายแหล่งเรียนรู้ของตนให้กว้างขวางขึ้น จากข้อมูลที่มีอยู่ในตำราเล่มหนึ่งไปสู่การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันกว้างขวางยิงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงจากอินเตอร์เน็ต ซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมการทำงานร่วมกัน และนำความรู้ที่แต่ละคนมีอยู่มารวมกัน แนวคิดดังกล่าวพอสรุปได้ดังนี้
       1. เพื่อให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
       2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพด้านการคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา และการคิดขั้นสูง
       3. เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนและทำงานร่วมกัน ได้ฝึกภาวะผู้นำและผู้ตาม
       4. เพื่อจัดประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้นำไปใช้ในการดำรงชีวิต
       5. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทำโครงงาน
4.บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน
      4.1 อาจารย์ ผู้สอนวิชาโครงงาน
            (1) ให้คำปรึกษา แนะนำ กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดหัวข้อโครงงาน และวิธีการเขียนโครงงาน
            (2) จัดงบประมาณ อุปกรณ์สนับสนุนแต่ละโครงงาน
            (3) ติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของผู้เรียนแต่ละสัปดาห์
            (4) เป็นกรรมการตรวจสอบโครงงาน
            (5) รวบรวมผลการประเมินเพื่อตัดสินความสำเร็จในวิชาโครงงานของนักเรียน
            (6) ประชาสัมพันธ์หรือจัดนิทรรศการเผยแพร่ ผลงานโครงงานไปสู่ สาธารณชน และสถาน                              ประกอบการ
     4.2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
            (1) ให้ความรู้ดานทฤษฎี หลักการ กระบวนการ วิธีการคิด และยุทธศาสตร์การคิด
            (2) ให้คาแนะนำ ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ และวิธีการดำเนินงานที่ถูกต้อง
            (3) ให้ความรู้ ทักษะ และเทคนิคในการทำโครงงาน
            (4) เป็นที่ปรึกษาโครงงาน
            (5) เป็นกรรมการสอนโครงงานทั้งหมด ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
            (6) ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
            (7) ติดตามผลและประเมินผลวิชาโครงงาน
5.วัตถุประสงค์                                
     การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียน
     1. มีประสบการณ์โดยตรง
     2. ได้ทำการทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
     3. รู้จักการทำงานอย่างมีระบบ  มีขั้นตอน
     4. ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
     5. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา
     6. ได้รู้จักวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา
     7. ฝึกวิเคราะห์  และประเมินตนเอง
6.ประเภทของโครงงาน
    ประเภทของโครงงานตามลักษณะการดําเนินการออกเป 4 ประเภท ดังนี้
        1. โครงงานที่เปนการสํารวจ รวบรวมขอมูล
เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจ และรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แลวนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจนั้นมาจําแนกเปนหมวดหมู และ นําเสนอในรูปแบบตางๆ อยางมีระบบ เพื่อใหเห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธของเรื่องดังกลาว ไดชัดเจนยิ่งขึ้น การปฏิบัติตามโครงงานนี้ ผูเรียนจะตองไปศึกษา รวบรวมขอมูลดวยวิธีการ ตางๆ เชน สอบถาม สัมภาษณ สํารวจ โดยใชเครื่องมือ เชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบบันทึก ฯลฯ ในการรวบรวมขอมูลที่ตองการศึกษา
        2. โครงงานที่เปนการคนควา ทดลอง
เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงค เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะ โดยการออกแบบโครงงานในรูปของการทดลอง เพื่อศึกษาวาตัวแปรหนึ่งจะมีผลตอ ตัวแปรที่ตองการศึกษาอยางไรบาง ดวยการควบคุมตัวแปรอื่นๆ ซึ่งอาจมีผลตอตัวแปรที่ ตองการศึกษาไว  ขั้นตอนการดําเนินงาน ประกอบดวย การกําหนดปญหา การตั้งวัตถุประสงค หรือสมมติฐาน การออกแบบทดลอง การรวบรวมขอมูล การดําเนินการทดลอง การแปลผล และ สรุปผลการทดลอง
       3. โครงงานที่เปนการศึกษาความรู ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม
เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงคเพื่อเสนอความรู ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหมๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่ยังไมมีใครคิดมากอน หรือขัดแยงหรือ ขยายจากของเดิมที่มีอยู ซึ่งความรู ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดที่เสนอตองผานการพิสูจน อยางมีหลักการหรือวิธีการที่นาเชื่อถือตามกติกา/อตกลงที่กําหนดขึ้นมาเอง หรืออาจใชกติกา หรือขอตกลงเดิมมาอธิบายขอความรู ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหม ก็ได โครงงานประเภทนี้ ผูทําโครงงานตองเปนผูที่มีความรูพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ เปนอยางดี หรือตองมีการศึกษาคนควา ขอมูลมาประกอบอยางลึกซึ้ง จึงจะทําใหสามารถกําหนดความรู ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหมๆ ขึ้นได
       4. โครงงานที่เปนการประดิษฐคิดคน
เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงค คือ การนําเอาความรู ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดมาประยุกตใช โดยการประดิษฐเปนเครื่องมือเครื่องใชตางๆ เพื่อประโยชน ในการเรียน การทํางาน หรือการใชสอยอื่นๆ การประดิษฐคิดคนตามโครงงานนี้ อาจเปนการประดิษฐขึ้นมาใหมโดยที่ยังไมมี ใครทําหรืออาจเปนการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแลว ใหมีประสิทธิภาพ สูงขึ้นกวาที่เปนอยู รวมทั้งการสรางแบบจําลองตางๆ เพื่อประกอบการอธิบายแนวคิดในเรื่อง ตางๆ โครงงานที่เปนการประดิษฐคิดคนนี้ จะครอบคลุมเรื่องตางๆ ทั้งวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษา สังคม อาชีพ สิ่งแวดลอม ฯลฯ
7.แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มี 2 แนวทาง ดังนี้
        1. การจัดกิจกรรมตามความสนใจ
            เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเลือกศึกษาโครงงานจากสิ่งที่สนใจอยากรู้ที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน สิ่งแวดล้อมในสังคม หรือจากประสบการณ์ต่างๆ ที่ยังต้องการคำตอบ ข้อสรุป ซึ่งอาจจะอยู่นอกเหนือจากสาระการเรียนรู้ในบทเรียนของหลักสูตร มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
      1. ตรวจสอบ วิเคราะห์ พิจารณา รวบรวมความสนใจแก่ผู้เรียน
      2. กำหนดประเด็นปัญหา/หัวข้อเรื่อง
      3. กำหนดวัตถุประสงค์
      4. ตั้งสมมติฐาน
      5. กำหนดวิธีการศึกษาและแหล่งความรู้
      6. กำหนดเค้าโครงของโครงงาน
      7. ตรวจสอบสมมติฐาน
      8. สรุปผลการศึกษาและการนำไปใช้
      9. เขียนรายงานเชิงวิจัยง่ายๆ
      10.จัดแสดงผลงาน
           2. การจัดกิจกรรมตามสาระการเรียนรู้
เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยยึดเนื้อหาสาระตามที่หลักสูตรกำหนด ผู้เรียนเลือกทำ
โครงงานตามสาระการเรียนรู้ จากหน่วยเนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียน นำมาเป็นหัวข้อโครงงาน มีขั้นตอนที่
ผู้สอนดำเนินการดังต่อไปนี้
      1. เริ่มจากศึกษาเอกสารหลักสูตร คู่มือครู
      2. วิเคราะห์หลักสูตร
      3. วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา เพื่อแยกเนื้อหา จุดประสงค์ และกิจกรรมให้เด่นชัด
      4. จัดทำกำหนดการสอน
      5. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้
      6. ผลิตสื่อ จัดหาแหล่งการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
      7. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้
          7.1. แจ้งจุดประสงค์ เนื้อหาของหลักสูตรให้ผู้เรียนทราบ
          7.2 .กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนในขอบเขตของเนื้อหาและจุดประสงค์ในหลักสูตร
          7.3. จัดกลุ่มผู้เรียนตามความสนใจ
          7.4. ผู้สอนใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น
                 - ทำไมผู้เรียนจึงสนใจอยากเรียนเรื่องนี้ (แนวคิด/แรงดลใจ)
                 - ผู้เรียนสนใจเกี่ยวกับอะไรบ้าง (กำหนดเนื้อหา)
                 - ผู้เรียนอยากเรียนรู้เรื่องนี้เพื่ออะไร (กำหนดจุด ประสงค์)
                 - ผู้เรียนจะทำอย่างไรจึงจะเรียนรู้ได้ในเรื่องนี้ (กำหนดวิธีศึกษา/กิจกรรม)
                 - ผู้เรียนจะใช้เครื่องมืออะไรบ้างในการศึกษาครั้งนี้ (กำหนดสื่ออุปกรณ์)
                 - ผู้เรียนจะไปศึกษาที่ใดบ้าง (กำหนดแหล่งความรู้ แหล่งข้อมูล)
                 - ผลที่ผู้เรียนคาดว่าจะได้รับคืออะไรบ้าง (สรุปความรู้/สมมติฐาน)
                 - ผู้เรียนจะทำอย่างไรจึงจะรู้ว่าผลงานของผู้เรียนดีหรือไม่ดีอย่างไร จะให้ใครเป็นผู้ประเมิน                         (กำหนดการวัดและประเมินผล)
                 - ผู้เรียนจะเผยแพร่ผลงานให้ผู้อื่นรู้ได้อย่างไร (นำเสนอผลงาน รายงาน)
            7.5  ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตามที่ตกลงกันไว้ (จากคำถามที่ผู้สอนซักถาม) ภายใต้กรอบเวลาในแต่ละครั้ง ถ้ายังไม่สำเร็จให้ศึกษาต่อในคาบต่อไป
            7.6 ผู้เรียนทุกคนต้องสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยการเรียนของผู้เรียนและสามารถนำเสนอความรู้ที่ได้แก่เพื่อนๆ และผู้สอนได้
            7.7 ผู้เรียนเขียนรายงานเชิงวิจัยแบบง่ายๆ และแสดงแผงโครงงาน
       8. ผู้สอนจัดแหล่งความรู้เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
       9. ผู้สอนเขียนบันทึกผลการเรียนรู้
8.วิธีการทำโครงงาน
       1. ประชุมปรึกษาหารือ  เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับหัวข้อของโครงงาน  จากสิ่งต่อไปนี้
            – การสังเกต หรือตามที่สงสัย
            – ความรู้ในวิชาต่าง ๆ
            – จากปัญหาใกล้ตัว  หรือการเล่น
            – คำบอกเล่าของผู้ใหญ่  หรือผู้รู้
      2. เขียนหลักการ  เหตุผล  ที่มาของโครงงาน
      3. ตั้งวัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน
      4. กำหนดวิธีการศึกษา เช่น  การสำรวจ  การทดลอง  เป็นต้น
      5. นำผลการศึกษามาอภิปรายกลุ่ม
      6. สรุปผลการศึกษา   โดยการอภิปรายกลุ่ม
      7. ปรับปรุงชื่อโครงงาน  ให้ครอบคลุม  น่าสนใจ
9.รูปแบบการจัดทำโครงงาน
      1. ชื่อโครงงาน
      2. คณะทำงาน
      3. ที่ปรึกษา
      4. แนวคิด / ที่มา / ความสำคัญ
      5. วัตถุประสงค์ / จุดมุ่งหมาย
      6. ขั้นตอนการดำเนินงาน / วิธีการศึกษา
      7. แหล่ง / สถานศึกษา (ถ้ามี)
      8. วัสดุ  อุปกรณ์
      9. งบประมาณ
      10. ระยะเวลาการดำเนินงาน
      11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
10.ขั้นตอนของการทำโครงงาน  มีดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวขอเรื่อง
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้ เปนการคิดหาหัวขอเรื่องที่จะทําโครงงานโดยผูเรียน ตองตั้งตนดวยคําถามที่ว
        - จะศึกษาอะไร
        -  ทําไมตองศึกษาเรื่องดังกลาว
สิ่งที่จะนํามากําหนดเปนหัวขอเรื่องโครงงาน จะไดมาจาก ปญหา คําถามหรือ ความอยากรูอยากเห็นในเรื่องตางๆ ของผูเรียนเอง ซึ่งเปนผลจากการที่ผูเรียนไดอานจาก หนังสือเอกสาร บทความ ฟงการบรรยาย การสนทนา หรือจากการที่ไดไปดูงาน ทัศนศึกษา ชมนิทรรศการ หรือสังเกตจากปรากฏการณตางๆ รอบขาง
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนในการทำงาน ประกอบด้วย
            1) การกำหนดปัญหาและขอบเขตของการศึกษา
            2) การกำหนดวัตถุประสงค์ แนวคิด วิธีการที่จะนำมาใช้แก้ปัญหา  สมมติฐาน และนิยามเชิง                            ปฏิบัติการ
            3) การวางแผนรวบรวมข้อมูล  และการค้นคว้าเพิ่มเติม
            4) กำหนดวิธีดำเนินงาน ได้แก่ แนวทางการศึกษา ค้นคว้า วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้  การออกแบบการทดลอง  การควบคุมตัวแปร  การสำรวจและรวบรวมข้อมูล  การประดิษฐ์คิดค้น  การวิเคราะห์ข้อมูล  การกำหนดระยะเวลาในการทำงาน แต่ละขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 3  การเขียนเคาโครงของโครงงาน
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้ เปนการสรางแผนที่ความคิด เปนการนําเอาภาพของงาน และภาพของความสําเร็จของโครงงานที่วิเคราะหไวมาจัดทํารายละเอียด เพื่อแสดง แนวคิด แผน และขั้นตอนการทําโครงงาน โดยทั่วไปเคาโครงของโครงงานจะประกอบดวยหัวขอตางๆ เชนเดียวกับโครงการ ซึ่งไดแก่

หัวข/รายการ
รายละเอียดที่ตองระบุ
1. ชื่อโครงงาน
ทําอะไร กับใคร เพื่ออะไร
2. ชื่อผูทําโครงงาน
ผูรับผิดชอบโครงงาน อาจเปนรายบุคคล หรือรายกลุมก็ได
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
ผูสอน-อาจารยผูทรงคุณวฒุ  ิที่มีในทองถนิ่  ผูทําหนาที่
เปนที่ปรึกษา ควบคุมการทาโครงงานของผูเรียน
4. ระยะเวลาดําเนินงาน
ระยะเวลาการดําเนินงานโครงงาน ตั้งแตเริ่มตนจนเสร็จสิ้น
5. หลักการและเหตุผล
สภาพปจจุบันที่เปนความตองการ และความคาดหวังที่จะ
เกิดผล
6. จุดหมาย/วตถุประสงค
สิ่งทตี  องการใหเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงปริมาณและ
เชิงคุณภาพ
7. สมมติฐานของการศึกษา
อตกลง/อกําหนด/เงื่อนไข เพื่อเปนแนวทางในการพสจน
(ในกรณีที่เปนโครงงาน
ใหเปนไปตามที่กําหนด
การทดลอง)
8. ขั้นตอนการดําเนินงาน
กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครองมือ วัสดุอุปกรณ
สถานที่
9. ปฏิบัติโครงงาน
วัน เวลา และกิจกรรมดําเนินการตางๆ ตามที่ระบุไวในข 8
ตั้งแตเริ่มตนจนแลวเสร็จ
10. ผลที่คาดวาจะไดรับ
สภาพของผลที่ตองการใหเกิด ทั้งที่เปนผลผลติ        กระบวนการ
และผลกระทบ
11. เอกสารอางอิง/
ชื่อเอกสาร อมูลที่ไดจากแหลงตางๆ ทนามาใช
บรรณานุกรม
ในการดําเนินงาน

ขั้นตอนที่ 4  การปฏิบัติโครงงาน
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้ เปนการดําเนินงาน หลังจากที่โครงงานไดรับความ เห็นชอบจากผูสอน-อาจารยที่ปรึกษา และไดรับการอนุมัติจากสถานศึกษาแลว ผูเรียนตองลงมือ ปฏิบัติงานตามแผนงานที่กําหนดไวในเคาโครงของโครงงาน และระหวางการปฏิบัติงานผูเรียน ตองปฏิบัติงานดวยความรอบคอบ คํานึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทํางาน ตลอดจนคํานึงถึงสภาพแวดลอมดวย ในระหวางการปฏิบัติงานตามโครงงาน ตองมีการจดบันทึกขอมูลตางๆ ไวอยาง ละเอียดวา ทําอะไร ไดผลอยางไร ปญหา อุปสรรค และแนวทางการแกไขอยางไร การบันทึก
อมูลดังกลาวนี้ ตองจัดทําอยางเปนระบบระเบียบ เพื่อจะไดใชเปนขอมูล สําหรับการปรับปรุง การดําเนินงานในโอกาสตอไปดวย
ขั้นตอนที่ 5  การเขียนรายงาน
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้ เปนการสรุปรายงานผลการดําเนินงานโครงงาน เพื่อให ผูอื่นไดทราบถึงแนวคิด วิธีดําเนินงาน ผลที่ไดรับ ตลอดจนขอสรุป ขอเสนอแนะตางๆ เกี่ยวกับ โครงงาน
การเขียนรายงานควรใชภาษาที่เขาใจงาย กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมประเด็น สําคัญๆ ของโครงงานที่ปฏิบัติไปแลว โดยอาจเขียนในรูปของสรุป รายงานผล ซึ่งอาจ ประกอบดวยหัวขอตางๆ ดังนี้ บทคัดยอ บทนํา เอกสารที่เกี่ยวของ วิธีการดําเนินงาน ผลการศึกษา สรุปและอภิปรายผล ขอเสนอแนะ และตารางที่เกี่ยวของ
ขั้นตอนที่ 6  การแสดงผลงาน
การดําเนินงานตามขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนสุดทายของการทําโครงงานเปนการนําผล การดําเนินงานโครงงานทั้งหมดมาเสนอใหผูอื่นไดทราบ ซึ่งผลผลิตที่ไดจากการดําเนินโครงงาน ประเภทตางๆ มีลักษณะเปนเอกสาร รายงาน ชิ้นงาน แบบจําลอง ฯลฯ ตามประเภทของ โครงงานที่ปฏิบัติ
การแสดงผลงาน ซึ่งเปนการนําเอาผลการดําเนินงานมาเสนอนี้ สามารถจัดได หลายรูปแบบ เชน การจัดนิทรรศการ หรือทําเปนสื่อสิ่งพิมพ การจัดทําเปนสื่อมัลติมีเดีย และ อาจนําเสนอในรูปแบบของการแสดงผลงาน การนําเสนอดวยวาจา รายงาน บรรยาย ฯลฯ
11.การประเมินผลโครงงาน
       การประเมินผลเป็นหัวใจของการเรียนการสอน ที่สะท้อนสภาพความสำเร็จของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลว่ากิจกรรมที่ทำไปนั้นบรรลุตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้
หรือไม่ อย่างไร ปัญหาและอุปสรรคที่พบคืออะไรบ้าง ได้ใช้วิธีการแก้ไขอย่างไร ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการทำโครงงานนี้
       1. ผู้ประเมินโครงงาน  อาจดำเนินการด้วยบุคคล ต่อไปนี้
             (1) ผู้เรียนประเมินตนเอง จะแสดงออกให้เห็นว่า ผู้เรียนเจ้าของโครงงาน ซึ่งอาจเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มทำงาน มีความพึงพอใจต่อขั้นตอนของกิจกรรมแต่ละขั้นตอนที่ได้กำหนด หรือร่วมกันกำหนดขึ้นเองเพียงใด มีหัวข้อกิจกรรมใดที่ยังขาดตกบกพร่อง จะต้องเพิ่มเติมในส่วนใดบ้าง ความละเอียดรัดกุม ในแต่ละขั้นเป็นอย่างไร
             (2) ผู้ประเมินซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้น อาจให้ขอคิดเห็นสะท้อนภาพเพิ่มเติม เช่น ในระดับชั้นประถมศึกษา เพื่อนอาจให้ความเห็นไปในเรื่องของการเรียน การใช้ตัวสะกด การันต์ วรรคตอน ซึ่งเน้นไปในด้านภาษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา การประเมินโครงงาน อาจเริ่มขยายขอบเขตจากด้านการใช้ภาษา ออกไปถึงการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งชื่อโครงงานกับจุดประสงค์ของโครงงาน และตามความเข้าใจของผู้ประเมิน เสนอแนะวิธีการศึกษาของผู้ประเมิน เพื่อการพิจารณาการจัดรูปเล่มเพื่อการ
นำเสนอโครงงาน ฯลฯ
             (3) ผู้ประเมินซึ่งเป็นผู้สอน หรือครูที่ปรึกษา อาจให้คำแนะนาเพิ่มเติมได้ในเรื่องวิธีการอื่นที่ใช้ในการศึกษาหาคำตอบ ความสัมพันธ์ของวิชาตามหัวเรื่องที่ศึกษากับวิชาอื่น ข้อค้นพบที่ผู้เรียนได้จากโครงงาน การนำคำตอบของการศึกษาที่ได้ไปใช้ประโยชน์ การนำข้อค้นพบที่ต่างไปจากเป้าหมาย
ของการศึกษาไปใช้ประโยชน์หรือขยายผลการศึกษาเป็นโครงงานใหม่ ฯลฯ
              (4) ผู้ประเมินที่เป็นพ่อ แม่ ผู้ปกครอง จะได้รับทราบถึงความสามารถ ความถนัดทางการเรียนของลูกหรือเด็กในความปกครอง ความรู้สึก ความต้องการของเด็กผู้ทำโครงงาน ทำให้สามารถปรับตัวปรับใจเพื่อการสนับสนุนทั้งด้านการเงิน กำลังใจ ให้โอกาส ให้เวลาร่วมกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก ชี้แนะอุปสรรค ปัญหาเบื้องต้นที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมขั้นต่างๆ ของโครงงาน ข้อเสนอแนะสาหรับการทำโครงงานครั้งต่อไป
        2. แนวทางการประเมินผล
     การประเมินผลโครงงานควรใช้การประเมินผลตามสภาพที่แท้จริง( Authentic Assessment) ซึ่งมีลักษณะดังนี้
               (1) ทำไปพร้อมๆ กับการเรียนรู้ของผู้เรียน
               (2) ยึดพฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกเป็นสำคัญ
               (3) เน้นการพัฒนาตนและการประเมินตนเอง
               (4) ให้ความสำคัญในการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน
               (5) มีการเก็บข้อมูลระหว่างปฏิบัติได้ทุกบริบท(Context) ทั้งที่บ้าน โรงเรียนและชุมชน
               (6) อยู่บนพื้นฐานของเหตุการณ์ในชีวิตจริง เอื้อต่อการเชื่อมโยงการเรียนรู้สู่ชีวตจริง
               (7) เน้นคุณภาพของผลงาน ซึ่งเป็นผลจากการบูรณาการความรู้สู่ความสามารถของผู้เรียน
               (8) เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง เช่น ใช้ขอมูลในการสังเคราะห์ อธิบาย สรุปเป็น                       กฎทั่วไป ตั้งสมมติฐาน สรุปและแปลผล เป็นต้น
               (9) วัดปฏิสัมพันธ์เชิงบวก มีการชื่นชม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสุขสนุกสนาน ไม่เครียด
               (10) สนับสนุนการมีส่วนร่วม และรับผิดชอบร่วมกัน
        3. วิธีการประเมินผล
                1. การสังเกต เป็นวิธีประเมินพฤติกรรมที่สามารถทาได้ทุกเวลาและสถานการณ์ ทั้งแบบมีและไม่มีเครื่องมือในการสังเกต
                 2. การสัมภาษณ์ การสอบถามอาจมีลักษณะเป็นทางการ หรือสัมภาษณ์ สอบถาม ขณะปฏิบัติโครงงานก็ได้
                  3. วัดความรู้ ความสามารถ (Authentic Test) ควรเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิด เพื่อดูความเชื่อมโยงระหว่างความรู้ความเข้าใจเดิม กับสิ่งที่ได้เพิ่มเติมจากประสบการณ์ในการปฏิบัติโครงงาน
ลักษณะสำคัญของแบบทดสอบ
                          (1) ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัด
                          (2) เป็นคำถามที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน
                          (3) เชื่อมโยง บูรณาการความรู้ ความสามารถ ได้หลายด้านและใช้ความคิดที่ลึกซึ้งขึ้น                                      ตามวัย
                          (4) มีเกณฑ์การให้คะแนนตามความสมบูรณ์ของพฤติกรรม
                          (5) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและเขียนคาตอบเอง
                  4. การรายงาน เป็นการเขียนรายงาน หรือบอกขั้น หรือประสบการณ์ในการทำโครงงาน เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองจากการที่ได้พูด หรือเขียนบรรยายสะท้อนความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิดตามแนวทางการเรียนรู้ที่ผ่านประสบการณ์ขณะปฏิบัติกิจกรรมตามโครงงาน
                  5. แฟ้มผลงาน (Portfolio) เป็นการเก็บรวบรวมผลงานที่มีความโดดเด่น ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งที่เลือกรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อแสดงถึงความรู้ ความเข้าใจ ความสนใจ ความถนัด ทักษะ ความสามารถ อันแสดงออกถึงพัฒนาการความก้าวหน้า ความสำเร็จในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือในหลายๆเรื่อง หรือจะเป็นการเก็บผลการประเมินการปฏิบัติโครงงานในวิธีที่ 1 – 4 ด้วยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการติดตามพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่อง
12.ลักษณะของแฟ้มผลงานดีเด่นสำหรับโครงงาน
แฟ้มโครงงานควรมีลักษณะเป็นบทความที่แสดงออกถึงการมีขั้นตอนในการทำงานโครงงาน ความพยายามในการแก้ปัญหา หรือการศึกษาส่วนบุคคล ภายในแฟ้มโครงงานอาจประกอบด้วย เป้าหมาย
วัตถุประสงค์ ยุทธวิธีในการปฏิบัติโครงงาน ภาพถ่ายของกระบวนการทางานขั้นตอนต่างๆ การแก้ปัญหา
ในการดำเนินงาน การผลิตตามโครงงาน บันทึกผลการทางาน บันทึกความคิดเห็น ความรู้สึกส่วนตัวหรือ
ของกลุ่ม ต่อโครงงานและบันทึกผลการประเมินผลโครงงาน
13.ประโยชน์ของโครงงาน
      1. กิจกรรมโครงงานเหมาะกับการศึกษาในยุคข้อมูลข่าวสาร
      2. เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้เต็มที่
      3. เกิดความรู้จริง ซึ่งได้จากการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการทดลอง ปฏิบัติค้นคว้า
      4. สามารถใช้ความรู้ได้หลายด้าน (หลายมิติ)
      5. เกิดปัญญาเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ เข้าด้วยกัน
      6. ฝึกให้ผู้เรียนเป็นคนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น
      7. ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และเกิดความภูมิใจที่ทางานสำเร็จ
      8. ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานจากการเรียนรู้
      9. ช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นนักค้นคว้า (นักวิทยาศาสตร์ )

ที่มา

honeylamon. (Online) https://honeylamon.wordpress.com/วิธีการสอน-2/วิธีการสอนแบบโครง                          งาน/.วิธีการสอนแบบโครงงาน.สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2558.
อุษา คงทอง.(Online)acad.vru.ac.th/pdf-handbook/Hand_Teacher.pdf.คู่มือการจัดระบบการ                           เรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้.สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2558.
http://edt.kmutt.ac.th/bangkok/download/training_3/material.pdf.การเรียนรู้โดยใช้โครง                            งานเป็นฐาน.สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2558.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น